Container Service
แต่เดิม การ Launch Software หรือ Application ต่างๆ ต้องใช้เวลานาน และต้องทำหลายขั้นตอน ทั้ง เก็บ Requirement / Design / Implementation รวมใช้เวลากว่า 9 เดือน จึงจะ Release Product แต่ปัจจุบัน เรามีเครื่องมือที่ช่วยให้การทำ Software และ Application ง่ายขึ้นมาก
- MicroService Architecture แต่เดิม App ต่างๆ เช่น แอพธนาคาร จะใส่ function การทำงานต่างๆ ทีละอย่าง ได้แก่
– Authentication (การ Log in)
– Account Balance (เช็คยอดเงิน)
– Payment (การจ่ายเงิน จ่ายบิล)
– SMS Verification
แล้วนำทั้งหมดมา Monolith กัน คือการเขียนให้เป็นภาษาเดียวกัน ซึ่งใช้เวลานาน และต้องทำทีละอย่าง
แต่ MicroService Architecture สามารถแยกเขียน และทำไปพร้อมๆกันได้ ช่วยให้ประหยัดเวลา อีกทั้งแต่ละ Service ก็มี API ให้มาเชื่อมกัน สามารถเลือก Develope แต่ละส่วนได้เลย
- Container
เดิม VM จะต้องสร้างตัว Test กับ Production ซึ่งใช้ resorce เยอะเป็นเท่าตัว
แต่ถ้ามี Container และลงตัว Engine Runtime จะช่วยกั้นห้องแต่ละ VM ให้แก้ไขแต่ละตัวได้
- Kubernetes : K8s ตัวบริหารจัดการ Container
– ช่วย Build Container Image
– Automative Testing
– Run Anywhere
– Scale Rapidly
- CI/CD
CI คือ Continuous Integration
Plan – Code – Build (create App) – Test

CD คือ Continuous Delivery
Release – Deploy – Operation – Monitor
Pivotal จะเข้ามาช่วยในขั้นตอน Operation เรียกว่าเป็น Container Service
ช่วย Project Manager ที่มาทำ DevOps ให้เป็น Automatic ทั้งหมด
- Cloud Native Application คือ การรวม 4 ข้อ ข้างต้นเข้าด้วยกัน
Pivotal มีประโยชน์อย่างไร
เมื่อเราจะ Update Application เราต้องดูทั้ง Framework / Container / OS (Online Station) / VM / Network / Hardware และหากมีหลาย Application เราสามารถประหยัดเวลาได้ โดยนำ Pivotal เข้ามาช่วย
– ซึ่งมีประโยชน์ต่อ Developer ในการลด Transaction
– ช่วยด้าน Operation ลดการทำงาน เพียงแค่ดูว่าโปรแกรม run ต่อเนื่องไหม
– ด้าน Security การทำ Repair Reload
– ด้าน High Availability
– Pivotal ดูเรื่อง Pod / Container และ Node ด้วย และดูแล K8s ให้อีกที
– ใช้เพียงคำสั่งเดียวในการสร้าง node
– ทำให้ระบบรวดเร็วขึ้น มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็น Zero Downtime
– Pivotal จะ Repair ขึ้นใหม่ ถ้ามีปัญหา
– ถ้า VM ติดไวรัสจะลบ VM นั้นทิ้ง แล้วสร้าง VM ขึ้นมาใหม่ (เป็นสิ่งที่ Digital Banking หลายๆที่ชื่นชอบ)
– ในส่วนของ Hardware – VxRail ทำ Auto Scale เวลามี Upgrade ตัว Firmware และ Update ทีละ Block ไม่มีผลกระทบต่อกัน
– มีแบบ 50-200 Pod และ 200-450 Pod (หลายๆ Container เป็น 1 Pod / หลายๆ Pod เป็น Application

กลุ่มลูกค้า
– Business Application (แอพที่มีการอัพเดตบ่อยๆ เช่น แอพ Mobile Banking)
– Target to Development
– มี Painpoint (เช่น การต้องรอ Scale หรือ การรันบนระบบ Test ไม่มีปัญหา แต่มีปัญหาตอน Production)
– Time to Release Product สำหรับผู้ที่อยากประหยัดเวลา (สร้าง feature ใหม่ใน 3 เดือน จาก 6-9 เดือน)
– คนที่ใช้ Vsphere อยู่แล้ว
– องค์กรที่มี Programmer 30 คน ขึ้นไป
